ถือเป็นอีกหนึ่งพระเครื่องหายากสำหรับ พระปรุหนัง กรุวัดมหาธาตุ ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่ามีความเก่าแก่และสวยงาม ด้วยความปราณีตในการสร้างที่มีมาตั้งแต่ยุคอยุธยาตอนต้น วันนี้เราจะมาบอกเล่าถึง ประวัติความเป็นมาสุดขลัง “ พระปรุหนัง เนื้อชินเงิน” กรุวัดมหาธาตุ ! พร้อมกับจะมาอธิบายถึงพุทธลักษณะขององค์พระเหล่าบรรดานักสะสมได้ทราบข้อมูลการเพิ่มขึ้น หากอยากทราบกันแล้วว่าเนื้อหาสาระที่เราได้นำมาฝากในวันนี้มีความน่าสนใจอย่างไรกันบ้างนะน้องอย่ารอช้าเข้าไปชมรายละเอียดพร้อมกันได้เลยดังต่อไปนี้
วัดมหาธาตุ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
รักเรียกว่าธรรมะเก่าแก่ที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ ได้ถูกสร้างขึ้นตั้งแต่ยุคสมัยของ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ตั้งแต่ในช่วงปีพ. ศ. 1917 น่าจะทำถึงอายุอานามของวัดแห่งนี้ก็เรียกได้ว่าเป็นกลักร้อยปีกันเลยทีเดียว แต่ก็ยังไม่ทันแล้วเสร็จ เนื่องจากสมเด็จพระรามาธิบดีที่1 ท่านได้ทรงเสด็จสวรรคตจากไปเสียก่อน ต่อมาภายหลังวัดแห่งนี้ก็ได้มีการสร้างเพิ่มเติม จนแล้วเสร็จในช่วงยุคสมัยของสมเด็จพระราเมศวร ช่วงปีพศ. 1917 และได้มีปรากฏอยู่ในฉบับพระราชหัตถเลขาของพระราชพงศาวดาร
จังหวัดอย่างนี้ได้เป็นที่ประดิษฐานของพระบรมสารีริกธาตุ และในสมัยก่อนได้เป็นศูนย์กลางสำหรับจัดพระราชพิธีต่างๆท้องยุบทำไมอยุธยากำลังรุ่งเรือง ซึ่งได้มีสมเด็จพระสังฆราชในยุคสมัยนั้น อยู่ในวัดแห่งนี้ด้วยเช่นกัน แต่เป็นพระสังฆราช ฝ่ายคามวาสี แต่พระสังฆราชฝ่ายอรัญวาสีได้ประทับอยู่อีกวัดหนึ่ง ซึ่งก็คือวัดใหญ่ชัยมงคลในปัจจุบันซึ่งในสมัยนั้นงวดนี้จะถูกเรียกกันว่าวัดป่าแก้ว
ถัดมาในช่วงยุคสมัยของพระเจ้าทรงธรรม ยอดพระปรางค์ทางเดินนั้นได้เกิดการทลายลง แต่ก็ยังไม่ได้มีการซ่อมแซม ต่อมาจนถึงในยุคของสมเด็จพระเจ้าปราสาททองก็ได้มีการบูรณะขึ้นมาใหม่ จนมีความสุขมากถึง 25 วา หรือในช่วงปีพ.ศ 2476 นั่นเอง ต่อมาจนถึงวาระที่ได้เกิดการเสียกรุงครั้งที่ 2 วัดมหาธาตุแห่งนี้ก็ได้ถูกเผาทำลายไปจนเหลือเพียงซากปรักหักพังเท่านั้น ซึ่งเราสามารถเข้าไปท่องเที่ยวหรือเยี่ยมชมได้ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาอยุธยา ซึ่งตำแหน่งที่ตั้งอยู่ใกล้ๆกับวัดราชบูรณะ นั่นเอง
ที่มาของ “พระปรุหนัง เนื้อชินเงิน กรุวัดมหาธาตุ จ.พระนครศรีอยุธยา”
ย้อนไปช่วงหลายปีก่อนได้มีการขุดพบ พระปรุหนังเนื้อชินเงินนี้ ณ กรุวัดมหาธาตุ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งในช่วงเวลานั้นกรุอื่นๆก็ได้ขุดพบพระเก่าโบราณอื่นๆเช่นกัน อันได้แก่ พระขุนแผนใบพุทรา พระซุ้มประภามณฑ , พระนาคปรก กรุพะงั่ว , พระอู่ทองคางเครา รวมทั้งพระอู่ทองพิมพ์ต่างๆ แต่สำหรับการขุดพบในกรุของวัดมหาธาตุครานั้น ได้มีการพบกับพระกรุหลากหลายพิมพ์ ซึ่งปรากฏให้เห็นว่ามีทั้ง พิมพ์ปรุหนังเดี่ยว, พิมพ์ก้างปลา, พิมพ์ปรุหนังลีลา และพิมพ์บัวเบ็ด แต่พิมพ์บัวเบ็ดนั้นจะเป็นพิมพ์ที่ค่อนข้างได้รับความนิยมมากที่สุด
เนื่องจากพิมพ์บัวแบบนั้นมีลักษณะที่ค่อนข้างโดดเด่นมีความสวยงามและอ่อนช้อยกว่าพิมพ์อื่นๆ เอกลักษณ์ของพิมพ์นี้จะสามารถมองเห็นได้อย่างเด่นชัดว่าบนฐานของดอกบัวนั้นน่าจะมีเส้นที่เป็นลักษณะโค้งคล้ายกับเบ็ดตกปลา มีความประณีตอย่างมากส่วนในพิมพ์อื่นๆที่ปรากฏเห็นนั้นจะมีลักษณะเป็นเพียงเส้นที่ถูกขีดเอาไว้เฉยๆและมักจะถูกเรียกกันว่าเป็นพิมพ์บัวก้างปลา
สำหรับพระพุทธหนังเนื้อชินเงินนี้เรียกได้ว่าเป็นอีกหนึ่งพระเครื่องที่ค่อนข้างมีชื่อเสียงโด่งดังมาก ในจังหวัดอยุธยา และเป็นที่หมายปองของเราบรรดานักนิยมสะสมพระเครื่องที่เล่นพระเนื้อชินเงินเป็นเดิมอยู่แล้ว ซึ่งใครๆปรารถนาอยากมีไว้ในครอบครองบูชา ในปัจจุบันค่อนข้างหาชมได้ยากหรือหากจะมีก็ยากที่จะเป็นองค์แท้ในส่วนของราคาก็ค่อนข้างสูงมาก เนื่องจากเป็นพระเครื่องโบราณที่มีศิลปะอันงดงามประณีตและบ่งบอกถึงยุคสมัยและยังชัดเจน
เหตุผลของการตั้งชื่อว่าพระปรุหนังนั้น มีการสันนิษฐานว่าอาจมาจากองค์พระที่มีความโปร่งและมีลวดลายเป็นเอกลักษณ์ซึ่งเราจะเห็นได้ชัดเจนว่าลวดลายนั้นจะมีลักษณะเป็นลายฉลุมีความประณีตในการสร้างมีความสวยงามและมีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวรวมทั้งมีซุ้มให้เห็นเด่นชัด
พุทธลักษณะของ พระปรุหนัง เนื้อชินเงิน กรุวัดมหาธาตุ จ.พระนครศรีอยุธยา
ขออนุญาตกล่าวถึงพุทธลักษณะทางด้านหน้าขององค์พระกันก่อน เริ่มต้นที่เราจะมองเห็นได้ถึงความโดดเด่นของซุ้มขนาดใหญ่ซึ่งคล้ายกับซุ้มเรือนแก้ว เหนือพระเศียรขององค์พระประธาน และมีพระโมคคัลลากับพระสารีบุตรอยู่ในลักษณะยืนทั้ง 2 ด้าน ส่วนองค์พระประธานนั้นจะอยู่ในอิริยาบทประทับนั่ง เหนือฐานดอกบัวบานซึ่งด้านล่างจะเห็นถึงลักษณะของกลีบบัวคว่ำ และใต้ของฐานนนั้นจะปรากฏฐานเรียบอยู่ด้านล่าง ซึ่งจะมีพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะยืนอยู่ทั้ง 2 ด้านตามภาพตัวอย่างด้านบน
บริเวณเหนือพระเศียรนั้นจะปรากฏเส้นที่บรรจบกันมีลวดลายคล้ายกับช่อชัยพฤกษ์ มีความสูงประมาณ 50 เซนติเมตร และในส่วนของฐานนั้นมีความกว้างอยู่ที่ประมาณ 4.5 เซนติเมตร มีขนาดที่ใหญ่ไม่น้อยมีการตัดกรอบในลักษณะสี่เหี่ยมจัตุรัส อีกทั้งเส้นต่างๆยังปรากฏให้เห็นอย่างเด่นชัดไม่ว่าจะเป็นเส้นของซุ้ม, เส้นของฐานบัว, เส้นของจีวร, รวมไปถึงเส้นของพระพักต์ สิ่งเหล่านี้แสดงให้เห็นว่ามีความละเมียดละมัยในการสร้างอย่างมาก พร้อมทั้งอาจจะต้องใช้ช่างที่มีฝีมือชั้นเลิศมาทำในเรื่องของการเทโลหะอีกด้วย ซึ่งเราจะสังเกตได้ว่าการเทโลหะของพระปรุองค์นี้ค่อนข้างมีความบาง และละเอียดกว่าองค์อื่นๆอย่างเห็นได้ชัด
ตรงขอบรอบจะมีการฉลุอย่างงดงามมีความละเมียดละไมในการสร้างอย่างมาก มีความคล้ายคลึงเรากับเป็นการฉลุลายของแผ่นหนังตลุง ในส่วนขององค์พระนั้นจะมีความโปร่งจนเราสามารถมองเห็นได้อย่างทะลุ ส่วนพุทธลักษณะทางด้านหลังนั้นจะมีลักษณะเป็นลายเรียบไม่มีปรากฏลวดลายใดๆ มีพุทธศิลปะที่ปรากฏอยู่ชัดเจนว่า เป็นศิลปะในยุคสมัยอู่ทองช่วงปลายหรือยุคช่วงปลายอยุธยาในช่วงต้น
สาวนทางด้านของพุทธลักษณะ ในพิมพ์บัวเบ็ด จะเห็นได้ชัดเจนว่าองค์พระประธานนั้นจะอยู่ในลักษณะประทับนั่งบนฐาน 2 ชั้นที่มีซุ้มเสมาปรากฏอย่างเด่นชัดซึ่งอยู่ในปางมารวิชัย และมีการตัดขอบคล้ายกับทีมอื่นๆเป็นลักษณะ มีลายฉลุคล้ายกับพิมพ์อื่นๆเช่นกัน จะแตกต่างกับพิมพ์อื่นๆตรงที่ บนฐานของแต่ละชั้นนั้นจะมีเส้นของลวดลายที่โค้งงออย่างอ่อนช้อย มีความคล้ายกับตะขอของเบ็ดตกปลา จะเรียงรายกันตามแนวนอน จึงเป็นที่มาของชื่อพิมพ์บัวเบ็ดนั่นเอง เนื่องจากมีความคล้ายมาก แต่ก็เป็นพิมพ์ที่มีความโดดเด่นในเรื่องของความอ่อนช้อยมากกว่าพิมพ์อื่นๆ
พุทธคุณ
สำหรับพุทธคุณนั้นมีความโดดเด่นในเรื่องของอยู่ยงคงกระพันปลอดภัย แคล้วคลาด มีความเชื่อกันว่าหากใครมีไว้ในครอบครองบูชา ก็จะแคล้วคลาดปลอดภัย ใครที่เป็นทหารก็มักจะนำไปบูชาขึ้นคอ เพื่อให้พุทธคุณคุ้มครองปกปักรักษาให้ปลอดภัยกลับบ้าน
เป็นอย่างไรกันบ้างคะสำหรับเรื่องราวของ ประวัติความเป็นมาสุดขลัง “ พระปรุหนัง เนื้อชินเงิน” กรุวัดมหาธาตุ ! ที่เราได้นำมาฝากกันไปในครั้งนี้ทำให้คุณได้ทราบถึงรายละเอียดของที่มากันมากยิ่งขึ้นเลยใช่ไหมล่ะคะ อย่างไรก็ตามหากคุณอย่าทราบถึงกรุวัดมหาธาตุก็สามารถไปเยี่ยมชมได้ ณ จังหวัดอยุธยา เป็นที่ตั้งก็อยู่ใกล้ๆกับวัดราชบูรณะนั่นเอง สำหรับวันนี้พวกเราทีมงานสองพระต้องขออนุญาตลากันไปก่อนแล้วสามารถกลับมาพบกับพวกเราได้ใหม่ในบทความครั้งต่อไปนะคะ ขอให้คุณโชคดีและมีสุขภาพที่แข็งแรงในทุกๆวัน พระคุ้มครองนะคะ
เกมส์ออนไลน์แนะนำ >>> ไฮโลไทยได้เงินจริง