จะพาคุณมารู้จักกับสุดยอดพระเกจิอาจารย์ของทางฝั่งอีสานใต้กันบ้าง และในครั้งนี้เราจะพาคุณมารู้จักกับ ประวัติความเป็นมาของสุดยอดพระเกจิอาจารย์แห่งเมืองสุรินทร์ “พระครูปราสาทพรหมคุณ (หลวงปู่หงษ์ ) แห่ง วัดเพชรบุรี” ซึ่งถึงแม้ว่าหลวงปู่ท่านจะได้มรณภาพลงไปหลายปีแล้ว แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าลูกศิษย์ลูกหาจะลืมเลือนแต่อย่างใด อีกทั้งในปัจจุบันนั้นพระเครื่องและรางของขลังที่ท่านได้เคยสร้างไว้ตั้งแต่สมัยที่ยังมีชีวิตอยู่ ก็ยังคงมีผู้คนเสาะแสวงหากันอยู่อย่างไม่ขาดสาย ทั้งยังเป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่าหากใครอยากห้อยพระของท่านจะต้องไม่ดื่มสุราหรือของมึนเมา หรือหากจะดื่มก็ไม่ต้องห้อย นอกจากนี้ยังค่อนข้างหรือชื่อในเรื่องของพุทธคุณที่แสนศักดิ์สิทธิ์และครั้งแบบสุดๆอีกด้วย หากอยากทราบรายละเอียดที่น่าสนใจนี้กันแล้ว ต้องอย่ารอช้าค่ะรอไปชมพร้อมๆกันได้เลยดังต่อไปนี้
ประวัติ “พระครูปราสาทพรหมคุณ (หลวงปู่หงษ์ ) แห่ง วัดเพชรบุรี”
สำหรับพระครูประสาทพรหมหรือที่ใครหลายคนมักจะรู้จักกันดีในนามของหลวงปู่หงษ์ แห่งสุสานทุ่งมน งั้นเดิมทีท่านมีชื่อว่าสุวรรณหงษ์ จะมัวดี เกิดในช่วงปีพ.ศ. 2461 ซึ่งท่านเกิดวันเสาร์ที่ 23 เดือนมีนาคม ที่หมู่บ้านทุ่งมนซึ่งตั้งอยู่ในอำเภอปราสาทของจังหวัดสุรินทร์ประเทศไทยเรานี้ ในยามที่ท่านเป็นเด็ก เมื่อครั้งที่ท่านยังเด็กท่านได้ศึกษาเล่าเรียนอยู่ที่โรงเรียนวัดอุทุมพรนะบ้านทุ่งมนจนจบชั้นประถมศึกษาปีที่สี่ ต่อมาเมื่ออายุได้ประมาณ 18 ปีมารดาของหลวงปู่หงษ์นั้นท่านก็ได้ขอให้หลวงปู่หงษ์บวช เนื่องจากในช่วงที่หลวงปู่หงษ์ท่านเป็นวัยรุ่นนั้นค่อนข้างมีอารมณ์ร้อนจึงกลัวจะมีเรื่องมีราวและกลัวว่าท่านจะเกเร และหลวงปู่หงษ์ก็ได้ทำตามคำขอของมารดาอย่างไม่ขัดอันใด แต่หลวงปู่หงษ์มีความตั้งใจว่าจะบวชเพียงแค่เจ็ดวันเท่านั้น แต่เมื่อได้บวชแล้วก็เกิดความเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนาจึงทำให้ท่านบวชเรื่อยมาจนอายุถึง 20 ปี
เมื่ออายุได้ 20 ปีหลวงปู่หงษ์ก็ได้เข้าพิธีอุปสมบท อยู่ที่อำเภอปราสาทของจังหวัดสุรินทร์ซึ่งท่านบวช ณ วัดเพชรบุรีที่ตั้งอยู่ในตำบลทุ่งมน ซึ่งพระที่เป็นพระอุปัชฌาย์ให้ท่านก็คือพระอาจารย์แป้น และท่านก็ได้รับฉายาทางถามว่า “พรหมปัญโญ” ซึ่งมีความหมายว่าผู้ที่มีปัญญาดุจพรหม เรียกได้ว่าเป็นชื่อที่มีความไพเราะและมีความหมายอันงดงามอย่างยิ่ง
เมื่อได้บวชเป็นพระหลวงปู่หงษ์ท่านก็มีความตั้งมั่นและตั้งใจในการปฏิบัติอย่างมากอีกทั้งยังได้ศึกษาพระปริยัติธรรมไปด้วยเช่นกันเนื่องจากความตั้งใจในการศึกษาเล่าเรียนจึงทำให้ท่านสามารถท่องจำบทคาถาต่างๆได้อย่างแม่นยำมาก และมีความฟักไฟทางทำและเป็นผู้ต้องการที่จะรู้อยู่ตลอดเวลา อีกทั้งยังพยายามเพียรไปหาครูบาอาจารย์แม้หนทางจะยากลำบากก็ตาม
จากนั้นหลวงปู่หงษ์ก็สามารถสอบได้นักธรรมชั้นตรี จากสำนักโรงเรียนแห่งวัดอุทุมพรในช่วงปีพ.ศ. 2482 และได้ศึกษาเล่าเรียนต่อในปีพ.ศ. 2483 อีกทั้งยังสามารถสอบได้ในระดับชั้นปลายภาค ณ วัดศรีลำยองที่ตั้งอยู่ในตำบลสมุด เมื่อบวชได้ครบ 3 พรรษาแล้ว ท่านก็ได้กราบลาพระอุปัชฌาย์ของท่านซึ่งก็คือพระอาจารย์แป้นเพื่อออกเดินธุดงค์ไปตามสถานที่ต่างๆ ซึ่งท่านก็มักจะนุ่งห่มโดยใช้ผ้าเพียงสามผืนเท่านั้น และค่อนข้างมีความเคร่งครัดต่อการปฎิบัติอย่างมากมอีกทั้งยังฉันภัตตาหารเพียงมื้อเดียวเท่านั้นในทุกๆวัน
จากนั้นท่านก็ได้ออกเดินธุดงค์ไปเรื่อยๆ จนไปถึงอำเภอขุขันธ์ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดศรีสะเกษเนื่องจากเป็นย่านที่มีสรรพศาสตร์มนตราอย่างมาก จากนั้นท่านก็ได้ฝากตัวเป็นลูกศิษย์กับครูบาอาจารย์ที่นั่นซึ่งมีทั้งพระเกจิอาจารย์และทั้งผู้ที่เป็นฆราวาส เมื่อได้ร่ำเรียนวิชาจนสำเร็จลุล่วงแล้ว ก็ได้ออกเดินธุดงค์ต่อไปยังประเทศกัมพูชาหรือที่ผู้คนมักจะเรียกกันว่าเมืองเขมร
เมื่อหลวงปู่หงษ์ท่านได้เดินทางมายังประเทศกัมพูชา แล้วท่านก็ได้เล่าเรียนวิชาที่เกี่ยวกับสรรพวิชาต่างๆ อันประกอบไปด้วยวิชาแคล้วคลาดจากเขี้ยว ขอ งา อาวุธปืน หอกดาบรวมถึงแคล้วคลาดจากยากันเบื่อ อีกทั้งท่านยังร่ำเรียนทางด้านคาถาเมตตามหาเสน่ห์ และนอกจากนี้ท่านยังมีความเชี่ยวชาญทั้งเรื่องแก้คุณไสยและทำน้ำมนต์รดอาบ ที่ได้ร่ำเรียนมาจากทางฝั่งเมืองเขมร หลวงปู่หงษ์นั้นท่านเป็นพระผู้มีความเมตตาอย่างมากท่านมักจะช่วยเหลือชาวบ้านที่ถูกรังแกด้วยคุณใสจึงทำให้ค่อนข้างมีชื่อเสียงเรื่องลือในยุคนั้นอย่างมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งคือทางฝั่งอีสานใต้ และท่านก็เป็นที่เคารพศรัทธาของประชาชนอย่างมาก
การบำเพ็ญประโยชน์ของหลวงปู่หงษ์
เมื่อร่ำเรียนวิชาต่างๆโดยสำเร็จลุล่วงเป็นที่เรียบร้อยแล้วหลวงปู่หงษ์ท่านก็ได้กลับมายังประเทศไทยถัดมาในช่วงปีพ.ศ. 2516 ท่านก็ได้รับตำแหน่งให้เป็นเจ้าคณะแห่งจังหวัดสุรินทร์ อีกทั้งยังได้เป็นเจ้าอาวาสแห่งวัดเพชรบุรีในจังหวัดสุรินทร์ช่วงปีพ.ศ. 2519 อีกด้วย ต่อมาไม่นานในช่วงปีพ.ศ. 2525 ท่านก็ได้รับตราตั้งเพื่อเข้ารับตำแหน่งเจ้าคณะตำบลทุ่งมน และเป็นพระอุปอุปัชฌาย์ และหลังจากนั้นอีกไม่นานท่านก็ได้รับตำแหน่งให้เป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะตำบลทุ่งมน และหลังจากนั้นไม่นานในช่วงปีพ.ศ. 2523 หลวงปู่หงษ์ท่านก็ได้รับการเลื่อนสมณศักดิ์ให้เป็น “พระครูปราสาทพรหมคุณ”
เมื่อครั้งที่ท่านยังมีชีวิตอยู่นั้นหลวงปู่หงษ์ท่านได้บริจาคทรัพย์ในการก่อสร้างสถานเลี้ยงเด็กสถานนีอนามัยอันเป็นประโยชน์ต่อสาธารณะชนอย่างมากอีกทั้งยังได้มีการจัดตั้งมูลนิธิหลวงปู่หงษ์พรหม ปัญโญ เพื่อช่วยเหลือเราบรรดาชาวบ้านที่ประสบปัญหาหรือมาขอความช่วยเหลือต่างๆอีกทั้งยังได้บริจาคซับที่เหล่าบรรดาญาติโยมได้นำมาถวายเพื่อปรับปรุงสถานีตำรวจและช่วยมอบเงินช่วยเหลือให้กับโรงเรียนต่างๆตามชนบท และช่วยเหลือผู้คนยากไร้อย่างมาก นอกจากนี้หลวงปู่หงษ์ท่านยังได้สนับสนุนให้ชุมชนอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่งเสริมการปลูกป่าในชุมชนอีกทั้งยังตั้งกองทุนเพื่อไทยชีวิตสัตว์ไม่ว่าจะเป็นโคกระบือและอื่นๆ และไม่ได้เพียงมีจิตเมตตาต่อสรรพสิ่งในโลกเท่านั้นแต่หลวงปู่หงษ์ท่านยังบำเพ็ญตนอันเป็นประโยชน์แก่พระพุทธศาสนาในหลายๆด้านอีกด้วย
จึงทำให้ท่านได้รับโล่รางวัลจากผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์ในช่วงปีพ.ศ. 2537 ในฐานะการชนะเลิศวัดพัฒนาตัวอย่าง จากนั้นถัดมาอีกในช่วงปีพ.ศ. 2557 หลวงปู่หงษ์ท่านก็ได้มรณะภาพลงอย่างสงบด้วยสิริอายุ 97 ปีและครองพรรษาได้ยาวนาน77 พรรษา
อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าในขณะนี้ท่านจะได้มรณภาพและละสังขารไปนานแล้วแต่ก็ยังทำให้ผู้คนญาติโยมรวมถึงลูกศิษย์ลูกค้าต่างเคารพศรัทธาในท่านอย่างไม่เสื่อมคลาย และสิ่งที่น่าอัศจรรย์ใจแก่ผู้คนในยุคสมัยใหม่อย่างมากก็คือสังขารของท่านกลับไม่เน่าเปื่อยเหมือนกับบุคคลทั่วไป
ของดีของขลัง ของหลวงปู่หงษ์
หลายคนอาจเกิดคำถามว่าทำไมจึงมีแต่ผู้คนเสาะแสวงหาของดีของขลังจากหลวงปู่หงษ์กันนักในปัจจุบันเนื่องจากพุทธคุณอันเป็นเลิศในหลายๆด้าน โดยเฉพาะพระเครื่องบางองที่ท่านได้สร้างเรียกได้ว่ามีความเป็นเลิศในแทบทุกด้านหรือที่ใครหลายคนมักจะพูดว่าครอบจักรวาลกันนั่นเอง
เมื่อครั้งที่หลวงปู่ท่านยังมีชีวิตอยู่ ทุกทุกครั้งเมื่อได้มีการจัดพิธีไหว้ครู ครอบครูจักรวาล ก็จะมีการทำตั้งบายศรีขนาดใหญ่ซึ่งมีประมาณ 21 ต้น จากนั้นหลวงปู่ท่านก็จะแผลเมตตาบารมีรวมถึงภาวนาอธิฐานจิตอย่างตั้งมั่น และอาราธนาอัญเชิญครูบาอาจารย์ของท่านเพื่อประทานพรและประสิทธิ์ประสาทวิชา และหลังจากนั้นก็จะมีการลงนะหน้าทองลงสาลิกาลิ้นทองรวมไปถึงเสกวัตถุมงคลต่างๆด้วยจิตอธิฐานที่ตั้งมั่นและมีความเชื่อกันว่าบารมีของหลวงปู่หงษ์และบารมีของครูบาอาจารย์ของท่านนั้นจะคุ้มครองแคล้วคลาดลูกศิษย์ลูกหาที่ร่วมพิธีให้ปลอดภัย จึงทำให้วัตถุมงคลในเรื่องต่างๆของท่านนั้นมีความเข้มแข็งอย่างมากและก็เป็นที่เสาะแสวงหาอย่างมากเช่นกัน ซึ่งวัตถุมงคลที่ค่อนข้างได้รับความนิยมและถูกถามถึงบ่อยมากของท่านก็คือ พระกริ่ง “แซยิด ๘๐ ปี” และ เหรียญเสมาเนื้อโลหะต่างๆ อีกมากมายที่ผู้คนมักถามถึง
จบไปเป็นที่เรียบร้อยสำหรับเรื่องราวของ ประวัติความเป็นมาของสุดยอดพระเกจิอาจารย์แห่งเมืองสุรินทร์ “พระครูปราสาทพรหมคุณ (หลวงปู่หงษ์ ) แห่ง วัดเพชรบุรี”
ที่ได้นำมาฝากกันในครั้งนี้แล้วพบกันใหม่กับบทความในครั้งต่อไปนะคะ สำหรับวันนี้สวัสดีค่ะ เว็บสล็อตแท้