ประวัติความเป็นมาของ ครูบาศรีวิชัย และที่มาของเหรียญครูบาศรีวิชัย บ้านปาง ปี 2517 ! 

ครูบาศรีวิชัย-บ้านปาง

หัวข้อ

ประวัติความเป็นมาของ ครูบาศรีวิชัย และที่มาของเหรียญครูบาศรีวิชัย บ้านปาง ปี 2517 ! 
ประวัติความเป็นมาของ ครูบาศรีวิชัย และที่มาของเหรียญครูบาศรีวิชัย บ้านปาง ปี 2517 ! 

หากใครเอ่ยถามถึงของดีของขลังทางฝั่งล้านนา ในช่วงยุคปีต้นๆ เชื่อกันว่าใครๆควรจะต้องนึกถึง เหรียญครูบาวิชัย  ขึ้นมาเป็นอันดับต้นๆอย่างแน่นอนเช่นกัน จึงเป็นเหตุผลที่ทำให้ครั้งนี้พวกเราทีมงานจะมาพูดถึง ประวัติความเป็นมาของ ครูบาศรีวิชัย และที่มาของเหรียญครูบาศรีวิชัย บ้านปาง ปี 2517 ! ให้คุณได้ทราบ โดยรวบรวมประวัติความเป็นมาที่น่าสนใจของพระครูบาศรีวิชัยมาฝากคุณกันไว้ที่นี่ พร้อมกับจะมาเล่าถึงความเป็นมาของเหรียญปี 2517 ให้คุณได้ทราบด้วยเช่นกัน และหากคุณต้องการทราบถึงรายละเอียดต่างๆเหล่านี้กันแล้วตั้งแต่รอช้าค่ะเราไปพบกับเรื่องราวที่น่าสนใจพร้อมๆกันได้เลยดังต่อไปนี้  

ประวัติความเป็นมาของครูบาศรีวิชัย  

ประวัติความเป็นมาของครูบาศรีวิชัย  

ก่อนอื่นเราจะต้องขออนุญาตเล่าถึงประวัติความเป็นมาของให้คุณได้ทราบกันแบบคร่าวๆเสียก่อน  อันนี้เพื่อการบอกเล่าถึงที่มาของท่านให้ท่านผู้อ่านได้ทราบ สำหรับครูบาศรีวิชัยนั้นท่านเกิดในช่วงปีพ.ศ 2421 ซึ่งตรงกับปีขาลท่านเกิดในวันอังคารที่ 11 เดือนมิถุนายนในปีนั้น  ท่านเกิดในช่วงเวลาหัวค่ำซึ่งเป็นช่วงเวลาที่เกิดฝนฟ้าคะนองอย่างรุนแรง ท่านเป็นบุตรชายของคุณพ่อที่มีนามว่าควาย และเป็นบุตรของคุณแม่ที่มีชื่อว่าอุสา  บางข้อมูลระบุว่ามารดาของท่านนั้น เป็นชาวจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งในบางตำราได้ระบุเอาไว้ว่ามารดาของท่านนั้นเป็นลูกของหลานไจยา เป็นชาวเมืองลี้ สรุปได้ความว่าครูบาศรีวิชัยนั้นท่านเป็นผู้ที่มีเชื้อสายเป็นชาวกะเหรี่ยงแดงจากทางฝั่งของบิดาของท่าน รวมไปถึงอาจมีเชื้อสายทางฝั่งกะเหรี่ยงขาวและชาวระยองจากทางฝั่งมารดาของท่านด้วยเช่นกัน 

เมื่อเติบโตและมีอายุได้ประมาณ 18 ปี ครูบาศรีวิชัยท่านก็มีความคิดว่าในชาตินี้ที่เกิดมายากจนอาจเพราะในอดีตไม่ได้ทำบุญเอาไว้อย่างเพียงพอ จึงทำให้ท่านมีความคิดว่าอยากจะออกบวชและรักฟ้าเป็นลิ้นปฏิบัติธรรม เพื่อเป็นการบำเพ็ญประโยชน์สุขเอาไว้ให้กับในภายภาคหน้า  อีกทั้งยังต้องการตอบแทนพระคุณของพ่อแม่ด้วยเช่นกัน ดังนั้นท่านกินได้กราบลาพ่อและแม่ไปใช้ชีวิตอยู่ที่วัดบ้านปาง  ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ครูบาศรีวิชัยท่านมีโอกาสได้บวชเป็นสามเณรและศึกษาเล่าเรียนวิชากับพระอาจารย์ที่ชื่อว่าขัตติยะ  หรือที่ใครๆคนมักจะเรียกกันว่าครูบาแข้งแขะ เหตุผลที่ถูกเรียกเช่นนี้เนื่องจากท่านเดินขากะเผลก 

ประวัติความเป็นมาของครูบาศรีวิชัย  

และต่อมาเมื่อท่านมีอายุได้ประมาณ 21 ปีท่านก็ได้เข้าพิธีอุปสมบทที่วัดบ้านโฮ่งหลวง ซึ่งตั้งอยู่ในอำเภอบ้านโฮ่งของจังหวัดลำพูนในปัจจุบัน  ซึ่งพระผู้เป็นพระอุปัชฌาย์ให้กับท่านก็คือครูบาสมณะ  พร้อมกับได้รับฉายาทางธรรมว่า “สีวิเชยฺย” อันมีนางบัญญัติว่าพระศรีวิชัย  

เมื่อได้บวชเป็นพระภิกษุสงฆ์อย่างเต็มตัวแล้ว ครูบาศรีวิชัยท่านก็ได้มีโอกาสศึกษาทางด้านไสยศาสตร์ นอกจากนี้ท่านยังมีความสนใจทางด้านแพทย์แผนโบราณ  และทางด้านคาถาอาคมและได้ร่ำเรียนอย่างมีความต้องอกตั้งใจรวมถึงวิชาป้องกันตัวอย่างมากมาย  กับพระอาจารย์ของท่านซึ่งก็คือพระครูบาขัตติยะพร้อมกับพระครูบาอุปปละ จากนั้นก็ได้เข้าศึกษาทางด้านกรรมฐานและมีความเคร่งครัดในการปฏิบัติอย่างมากซึ่งในครั้งนี้ท่านใดมีโอกาสศึกษาจากพระอุปัชฌาย์ ณ วัดบ้านทุ่งหลวงที่ตั้งอยู่ในจังหวัดลำพูน นอกจากจะมีความมานะพยายามในการศึกษาเล่าเรียนแล้วท่านยังมักฝึกฝนและเจริญภาวนาในป่าลึก อีกทั้งยังฉันเพียงมื้อเดียว และภัตตาหารของท่านโดยส่วนใหญ่แล้วจะเป็นอาหารมังสวิรัติไม่ฉันเนื้อสัตว์ รวมถึงละเว้นการเสพติดของเสพติดต่างๆไม่ว่าจะเป็นบุหรี่ หมาก พลู หรือเมี่ยงก็ตาม ท่านเป็นพระผู้ที่มีศีลปฏิบัติและจริยวัตรอันงดงามวางตนอย่างเหมาะสม

ประวัติความเป็นมาของครูบาศรีวิชัย  

 อีกทั้งยังเป็นคนพูดน้อยทำให้ผู้คนเลื่อมใสและเคารพศรัทธาในท่านอย่างมาก เมื่อไหร่ก็ตามที่ท่านทราบว่าที่ใดยังขาดหายนะที่จำเป็นต้องใช้ในวัดท่านก็มักจะเป็นผู้นำให้กับชาวบ้านในการก่อสร้างหรือบูรณะจนสำเร็จเพื่อให้สามารถใช้งานได้ ซึ่งสิ่งนี้ทำให้ท่านค่อนข้างได้รับคำชื่นชมอยู่เสมอ แล้วทำให้ผู้คนเลื่อมใสและร่วมใจทำบุญอยู่อย่างไม่ขาดสาย และอีกหนึ่งสิ่งที่ท่านได้เป็นผู้นำในการจัดตั้งก็คือถนนขึ้นสู่วัดพระธาตุดอยสุเทพ ซึ่งมีระยะทางมากถึง 11.530 กิโลเมตร โดยครั้งนั้นได้สร้างขึ้นในวันที่ 19 เดือนพฤศจิกายนในปีพ.ศ 2477 และตั้งเสร็จในวันที่ 30 เมษายนซึ่งตรงกับปีพ.ศ 2478 รวมระยะเวลาในการสร้างแล้วรวมระยะเวลาประมาณไม่เกิน 1 ปี ซึ่งการจัดสร้างทำทางขึ้นในครั้งนั้นไม่ได้ใช้งบประมาณของรัฐบาลแม้แต่อย่างใด 

 และหลังจากที่ท่านได้เดินทางไปอยู่ที่บ้านปางท่านก็ได้เป็นเจ้าอาวาสวัดบ้านปางสืบต่อจากพระครูบาแข้งแขะ  ซึ่งวัดแห่งนี้ตั้งอยู่ที่อำเภอบ้านโฮ่งของจังหวัดลำพูน  ท่านคือหนึ่งในพระที่เป็นที่เคารพรักของชาวล้านนาอย่างมากและถัดมาในช่วงปีพ.ศ  2481 ซึ่งตรงกับวันที่ 21 กุมภาพันธ์รับครูบาเจ้าศรีวิชัยก็ได้มรณภาพลง รวมสิริอายุได้ 60 ปี 

ประวัติความเป็นมาของครูบาศรีวิชัย  

แต่ชาวจังหวัดลำพูนก็ได้ตั้งศพเอาไว้ณวัดบ้านปางอย่างยาวนานเป็นเวลาประมาณ 1 ปีก่อนที่จะเคลื่อนศพมาตั้งไว้ที่วัดจามเทวีที่อยู่ในอำเภอเมืองของจังหวัดลำพูน  จนถึงช่วงปีพ.ศ 2489 ในวันที่ 21 เดือนมีนาคม และได้รับพระราชทานเพลิงศพ  ในครั้งนั้นได้มีประชาชนชาวไทยและชาวล้านนาร่วมพิธีกันเป็นอย่างมาก และอัฐิธาตุของครูบาศรีวิชัยนั้นได้ถูกแบ่งออกทั้งหมดเป็น 7 ส่วน  เพื่อนำไปบรรจุเอาไว้ในสถานที่ต่างๆทั่วแผ่นดินล้านนาหรือทางภาคเหนือ ทั้งหมด 7 แห่ง อันได้แก่  ส่วนที่ 1 นั้นได้ถูกนำไปตั้งเอาไว้อยู่ที่วัดจันทร์เทวีในจังหวัดลำพูน 

ในส่วนที่ 2 ได้ถูกบรรจุเอาไว้ที่วัดสวนดอกในจังหวัดเชียงใหม่  ในส่วนที่ 3 ได้ถูกบรรจุเอาไว้ที่วัดพระแก้วดอนเต้าสุชาดารามซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดลำปาง  ในส่วนที่ 4 นั้นได้ถูกบรรจุเอาไว้ที่วัดศรีโคมคำซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดพะเยา  ในส่วนที่ 5 นั้นได้ถูกบันทึกเอาไว้ที่วัดพระธาตุช่อแฮซึ่งอยู่ในจังหวัดแพร่  ในส่วนที่ 6 ได้บรรจุเอาไว้ที่วัดน้ำฮูซึ่งตั้งอยู่จังหวัดแม่ฮ่องสอน  และในส่วนที่ 7 นั้นได้ถูกบรรจุเอาไว้ที่วัดบ้านปางซึ่งตั้งอยู่ในอำเภอลี้ของจังหวัดลำพูนซึ่งเป็นบ้านเกิดของท่านนั่นเอง   

ที่มาของเหรียญพระครูบาศรีวิชัยบ้านปางปี 2517  

ที่มาของเหรียญพระครูบาศรีวิชัยบ้านปางปี 2517  

สำหรับวัตถุมงคลของครูบาศรีวิชัยนั้นเป็นที่สร้างกันที่ว่าได้ถูกจัดตั้งขึ้นหลังจากที่ท่านได้มรณภาพไปเป็นเวลานานแล้ว  ทั้งนี้เราจะมาพูดถึงเหรียญครูบาศรีวิชัยแห่งวัดบ้านปางในช่วงปีพ.ศ 2517  เรียกได้ว่าเป็นเหรียญที่ค่อนข้างได้รับความนิยมสูง แม้ในปัจจุบันก็ยังคงมีผู้ถามถึงและเป็นเด็กที่มีราคาค่อนข้างสูงด้วยเช่นกัน  

สำหรับเหรียญนี้ได้ถูกสร้างขึ้นโดยมี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ ยุคล เป็นประธานในการจัดสร้าง และมีคุณนิตย์ พงษ์ลัดดาเป็นผู้ดำเนินการในการจัดสร้าง  ซึ่งการแกะพิมพ์ของเหรียญรุ่นนี้ใช้ฝีมือของช่างที่มีฝีมือแห่งยุคซึ่งก็คือช่างที่มีชื่อว่า ช่างยิ้ม ยอดเมือง มาทำการแกะพิมพ์ ถูกจัดตั้งขึ้นในพิธีพุทธาภิเษกซึ่งตรงกับวันที่ 24 ตุลาคมปีพ.ศ 2517 สร้างขึ้นที่วัดบ้านปางในอำเภอลี้ ของจังหวัดลำพูน   

ที่มาของเหรียญพระครูบาศรีวิชัยบ้านปางปี 2517  

ซึ่งมีท่านเจ้าคุณพระเทพสารเทวี (ซึ่งเป็นเจ้าคณะภาคเหนือธรรมยุต)เป็นประธานในพิธีฝ่ายสงฆ์ อีกทั้งยังมีพระเถราจารย์ที่ล้วนแล้วแต่เป็นพระอริยสงฆ์ชื่อดังของทางฝั่งล้านนามาเข้าร่วมพิธีพุทธาภิเษกนี้ด้วย ซึ่งได้แก่ ครูบาทึม แห่งวัดจามเทวี, ครูบาชัยวงศ์ษา วัดพระบาทห้วยต้ม, ครูบาชุ่ม โพธิโก วัดวังมุย ,ครูบาอินทจักร์ วัดน้ำบ่อหลวง , ครูบาพรหมจักร วัดพระพุทธบาทตากผ้า, ครูบาสิงห์ชัย วัดป่าซางงาม ,ครูบาคำแสน คุณาลังกาโร วัดป่าดอนมูล, และหลวงพ่อสิม พุทธาจาโร วัดสันติธรรม นอกจากนี้ยังมีอีกหลายรูปที่เราไม่ได้กล่าวถึง ในขณะที่ประกอบพิธีพุทธาภิเษกครั้งนั้นได้มีปรากฏการณ์ทางธรรมชาติเป็นพระจันทร์ทรงกลดไปทั่วทั้งบริเวณงาน พิธีซึ่งเรียกได้ว่าสร้างความอัศจรรย์ใจให้กับผู้ที่เข้าร่วมอย่างมาก 

ที่มาของเหรียญพระครูบาศรีวิชัยบ้านปางปี 2517  

การตั้งเหรียญในครั้งนั้นได้สร้างทั้งหมดมีด้วยกันหลายเนื้อซึ่งมีการสร้างเป็นเนื้อทองคำจำนวน 9 เหรียญ  และได้ถูกสร้างมาเป็นเนื้อเงินจำนวน 579 เหรียญ  น้ำหนักเนื้อทองแดงมันไม่ถูกสร้างขึ้นจำนวน 5,625 เหรียญ  และเนื้อที่เป็นเนื้อนวโลหะได้ถูกสร้างขึ้นจำนวน 3,559 เหรียญ  อีกทั้งยังมีล็อกเก็ตที่มีการลงหินที่ถูกสร้างขึ้นประมาณ 227 อัน  ทั้งสำหรับเหรียญที่เป็นเหรียญทองคำนั้นค่อนข้างจะพิเศษคนอื่นๆตรงที่ไม่มีหูและไม่มีการตอกโค้ดใดๆ แต่สำหรับเหรียญนวโลหะนั้นจะมีการตอบโค้ดด้วยตัวอักษรที่เป็นตัว     “ศ” สำหรับเหรียญที่เป็นเนื้อเงินก็ไม่มีหูเชื่อมเช่นกัน 

สำหรับเหรียญที่เป็นเหรียญทองแดงนั้นมีด้วยกัน 2 พิมพ์ซึ่งได้แก่พิมพ์เศียรโล้นและพิมพ์เศียรหนามจะมีการตอบตัวอักษร “จ”  ระบุเอาไว้อย่างชัดเจน ซึ่งสามารถชมภาพตัวอย่างได้จากทางด้านบนที่เรานำมาฝากกันได้ในครั้งนี้ซึ่งนอกจากนี้ยังมีความเชื่อกันว่าเป็นเหรียญที่มีความศักดิ์สิทธิ์และขลังอย่างมาก  พุทธคุณที่ส่งหากใครมีไปให้บูชาครอบครองก็จะนำความเจริญมาสู่ชีวิต  

ที่มาของเหรียญพระครูบาศรีวิชัยบ้านปางปี 2517  

แล้วพบกันใหม่ในบทความครั้งต่อไปนะคะสำหรับวันนี้ต้องขอฝากเรื่องราว ประวัติความเป็นมาของ ครูบาศรีวิชัย และที่มาของเหรียญครูบาศรีวิชัย บ้านปาง ปี 2517 ! กันว่าจะเพียงเท่านี้ขอให้คุณโชคดีและมีความสุขในทุกๆวันสวัสดีปีใหม่ไทย 2566 ค่ะ 

Poster 24
Poster 24

ผู้คว่ำหวอดในวงการพระเครื่องในประเทศไทย

Facebook
Twitter